สัญญาณเตือนของโรคคลั่งผอม มีอะไรบ้าง
มีโรคประจำตัว โรคประจำตัวหรือโรคเรื้อรังที่ส่งผลต่อร่างกาย ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ หรือผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ทำไมต้องศัลยกรรมปรับรูปร่างที่รัตตินันท์
การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์และสถานะทางอารมณ์
รู้ลึก เข้าใจ กรดไหลย้อน รักษากรดไหลย้อน
หงุดหงิดและฉุนเฉียวง่าย หรือรู้สึกเครียด
โรคทางกายหรือโรคเรื้อรัง เช่น มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน
รวมเรื่องต้องรู้ ผ่าตัดกระเพาะ ลดน้ำหนัก
• รู้สึกว่าอ้วนอยู่ตลอดเวลา แม้เมื่อมีน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์
รวมเรื่องต้องรู้ เกี่ยวกับการตัดหนังหน้าท้อง
ปัจจัยทางสังคม: ค่านิยมความผอมในสังคม อาจส่งผลต่อความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของผู้ป่วย
มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก เช่น กระดูกอ่อนแอหรือกระดูกพรุน สูญเสียมวลกระดูก ส่งผลให้เสี่ยงกระดูกหักได้ในอนาคต
ไขมันในเลือดสูง คนที่น้ำหนักน้อยในกลุ่มที่มีพันธุกรรมที่รับประทานเท่าไรก็ไม่อ้วนนั้น อาจมีปัจจัยเสี่ยงเป็นไขมันในเลือดสูงได้ เนื่องจากร่างกายได้มีการกักเก็บไขมันไว้ในกระแสเลือด หรือบางคนอาจเป็นโรคไขมันในเลือดสูงที่เกิดจากพันธุกรรม
ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้หลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต แม้น้ำหนักจะเป็นปกติ ไม่ต่ำมากก็ตาม เนื่องจากเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะและภาวะเกลือแร่ที่ไม่สมดุล ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอะนอร์เร็กเซีย แบ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนทางกาย และภาวะแทรกซ้อนทางจิต โรคผอม ดังนี้